
สาขาวิชาช่างยนต์ Automobile
สาขางานช่างยนต์ เรียนรู้และฝึกฝนทักษะด้านงานยานยนต์ การอ่านแบบเขียนแบบยานยนต์ การบริการตรวจซ่อมเครื่องยนต์ ระบบส่งกำลังรถยนต์เครื่องล่างรถยนต์และไฟฟ้ารถยนต์ เชื้อเพลิงและวัสดุหล่อลื่น ระบบปรับอากาศรถยนต์ นิวเมติกส์ไฮดรอลิกเบื้องต้น โดยเน้นให้มีคุณธรรมในวิชาชีพ ใส่ใจอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และสามารถศึกษาต่อระดับสูงต่อไปได้
สาขาวิชาช่างกลโรงงาน
สาขางานเครื่องมือกล (Machanics) เรียนรู้และฝึกฝนทักษะด้านวิชาชีพ เครื่องมือกล เขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ งานเครื่องมือกลซีเอ็นซี (CNC) การอบชุบโลหะงานหล่อโลหะ การซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล งานวัดละเอียด นิวเมติกส์และไฮดรอลิกเบื้องต้น โดยเน้นให้มีคุณธรรมในวิชาชีพ ใส่ใจอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และสามารถศึกษาต่อในระดับสูงต่อไปได้
สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง Power Electrical
สาขางานไฟฟ้ากำลัง เรียนรู้และฝึกฝนพัฒนาด้านวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง การติดตั้งไฟฟ้าในอาคารและโรงงาน การควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า เครื่องมือวัด โปรแกรมและการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า นิวเมติกส์ไฮดรอลิกเบื้องต้น เครื่องทำความเย็นและเครื่องปรับอากาศ อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม โดยเน้นให้มีคุณธรรมในวิชาชีพใส่ใจอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และสามารถศึกษาต่อในระดับสูงต่อไปได้
สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ Electronics
สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ เรียนรู้และฝึกฝนทักษะด้านวงจรอิเล็กทรอนิกส์ วงจรไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรมระบบโทรคมนาคม เครื่องรับโทรทัศน์ นิวเมติกส์ไฮดรอลิกเบื้องต้น ระบบไมโครคอนโทรเลอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยเน้นให้มีคุณธรรมในวิชาชีพ ใส่ใจอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และสามารถศึกษาต่อในระดับสูงต่อไปได้
สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว Embedded System
สาขางานเทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว (หลักสูตรของสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา) เรียนรู้และฝึกฝนทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า การออกแบบโครงสร้างและใช้เครื่องมือกลสร้างชิ้นส่วนและอุปกรณ์การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อควบคุมระบบสมองกลฝังตัว การใช้งานแอพพลิเคชันเพื่อควบคุมสั่งการผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และระบบการสื่อสารควบคุมแบบไร้สาย การสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่ควบคุมด้วยระบบสมองกลฝังตัวด้วยกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ โดยเน้นให้มีคุณธรรมในวิชาชีพ ใส่ใจอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และสามารถศึกษาต่อในระดับสูงต่อไปได้
Power Electrics
สาขางานไฟฟ้ากำลัง Power Electrics
สาขาที่เกี่ยวข้องกับระบบไฟฟ้า เช่น การเดินสายไฟฟ้าภายในบ้าน ภายในอากาศ การติดตั้งเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ การตรวจเช็คระบบไฟฟ้า การวงระบบวงจรไฟฟ้า แก้ไขปัญหาต่างๆเกี่ยวกับไฟฟ้า เป็นต้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาขาช่างไฟฟ้า ให้ความสำคัญกับการสร้างความรู้พื้นฐานด้านระบบไฟฟ้า การติดตั้ง การเดินสายไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในลักษณะต่างๆ การตรวจเช็คระบบไฟฟ้า การตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้า เป็นต้น สาขาวิชาช่างไฟฟ้า ให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติควบคู่กัน
Electronics
สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ Electronics
การใช้ชีวิตในปัจจุบันนั้นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เข้ามามีบทบาทกับการดำเนินชีวิตประจำวัน อุปกรณ์ที่ใช้อำนวยความสะดวกล้วนแต่ใช้เทคโนโลยีที่มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในการควบคุมและเป็นส่วนประกอบแทบทั้งสิ้น เช่น โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ วิทยุสื่อสาร คอมพิวเตอร์ ระบบเซนเซอร์เพื่อควบคุมการทำงานแบบอัตโนมัติ จึงถือได้ว่างานอิเล็กทรอนิกส์เป็นงานที่มีความสำคัญ และมีความต้องการอย่างมากในวิชาชีพปัจจุบัน
Embedded System
สาขางานเทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว Embedded System
การนำระบบสมองกลฝังตัวมาประยุกต์ใช้ทุกวงการ และมีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันของเราอย่างกว้างขวาง เช่น ยานยนต์ สมาร์ทโฟน เครื่องมือวัดทางการแพทย์ หม้อหุงข้าว เครื่องซักผ้า เตาไมโครเวฟ เครื่องเล่นเกม เป็นต้น ซึ่งนับเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจจากภาคอุตสาหกรรม เพื่อนำมาพัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้ก้าวลํ้ามีคุณภาพมากขึ้น ในอนาคตอันใกล้ประเทศไทยจะก้าวเป็นศูนย์กลางของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เราจำเป็นที่จะต้องพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ ดังเช่น ระบบสมองกลฝังตัว ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์และอุตสาหกรรมของไทย เสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชน มีเศรษฐกิจที่ยั่งยืน และลดการนำเข้า โดยจะต้องใช้เทคโนโลยีแบบไมโครคอนโทรลเลอร์มิเตอร์อัจฉริยะ (Smart Meter) การสื่อสารข้อมูลแบบเครือข่ายไร้สาย Zigbee การถ่ายโอนข้อมูลแบบ NFC และการควบคุมผ่าน สมาร์ทโฟนในการพัฒนาระบบได้ต่อไป
Machanics
สาขางานเครื่องมือกล Machanics
เป็นหลักสูตรเน้นฝึกทักษะด้านการผลิตและซ่อมบำรุงเป็นหลัก ด้วยเครื่องจักรกลที่หลากหลาย เกี่ยวข้องกับเครื่องกลภายในโรงงาน หรือเครื่องยนต์ที่มีขนาดใหญ่ไม่ว่าจะเป็นเครื่องกลึง, เครื่องกัด, เครื่องไส, เครื่องเจียระไน เป็นต้น ทำการผลิตวัสดุทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นโลหะ อโลหะ พลาสติก หรือไม้ ยกตัวอย่างรถยนต์หนึ่งคัน เมื่อนำมาชำแหละเป็นอะไหล่ชิ้นส่วนต่างๆ เพลาข้อเหวี่ยง ลูกสูบ เฟือง สลัก แหวน ฯลฯ จะเห็นได้ว่า ช่างกลโรงงานทำหน้าที่การผลิตแทบทั้งสิ้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาขาช่างกลโรงงาน ให้ความสำคัญการฝึกปฏิบัติควบคู่กับทฤษฎี โดยเน้นการให้ความรู้และทักษะต่างๆ เช่น ความรู้พื้นฐานเรื่องโครงสร้างเครื่องยนต์กลไก ความรู้เรื่องระบบการทำงาน และการดูแลรักษา การซ่อมบำรุง เป็นต้น
Automobile
สาขางานช่างยนต์ Automobile
สาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการซ่อมบำรุงรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องยนต์ต่างๆที่นิยมใช้และอื่นๆ สาขาช่างยนต์มีการจัดการเรียนการสอนเน้นการฝึกทักษะ ประสบการณ์ และการทดลองสิ่งใหม่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาขาช่างยนต์ เช่น ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเครื่องยนต์ต่างๆ การใช้อุปกรณ์ในงานช่าง วัสดุเชื้อเพลิง การถอดประกอบเครื่องยนต์ การคำนวณต่างๆ ที่จำเป็นต่องานช่าง วิชากลศาสตร์ วิชาเทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นต้น การเรียนสาขา ช่างยนต์เป็นสาขาวิชาที่เน้นการฝึกปฏิบัติกับทฤษฎีควบคู่กัน และมีการปรับเปลี่ยนเทคนิคการสอนและฝึกปฏิบัติตามเทคโนโลยีสมัยใหม่ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์
สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
อาคาร ๖๐ พรรษา ราชสุดาสมภพ
สำนักพระราชวัง สนามเสือป่า
ถนนศรีอยุธยา เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทรศัพท์ 0-2280-0551
โทรสาร 0-2280-0552
ทุกวัน จันทร์-ศุกร์
8.30 น. – 16.30 น.
(ยกเว้น วันหยุดนักขัตฤกษ์)
saraban@cdti.ac.th
สงวนลิขสิทธิ์ © 2023 สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา. Web by Mountain Studio
สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา CDTI
We firmly believe that the internet should be available and accessible to anyone, and are committed to providing a website that is accessible to the widest possible audience, regardless of circumstance and ability.
To fulfill this, we aim to adhere as strictly as possible to the World Wide Web Consortium’s (W3C) Web Content Accessibility Guidelines 2.1 (WCAG 2.1) at the AA level. These guidelines explain how to make web content accessible to people with a wide array of disabilities. Complying with those guidelines helps us ensure that the website is accessible to all people: blind people, people with motor impairments, visual impairment, cognitive disabilities, and more.
This website utilizes various technologies that are meant to make it as accessible as possible at all times. We utilize an accessibility interface that allows persons with specific disabilities to adjust the website’s UI (user interface) and design it to their personal needs.
Additionally, the website utilizes an AI-based application that runs in the background and optimizes its accessibility level constantly. This application remediates the website’s HTML, adapts Its functionality and behavior for screen-readers used by the blind users, and for keyboard functions used by individuals with motor impairments.
If you’ve found a malfunction or have ideas for improvement, we’ll be happy to hear from you. You can reach out to the website’s operators by using the following email saraban@cdti.ac.th
Our website implements the ARIA attributes (Accessible Rich Internet Applications) technique, alongside various different behavioral changes, to ensure blind users visiting with screen-readers are able to read, comprehend, and enjoy the website’s functions. As soon as a user with a screen-reader enters your site, they immediately receive a prompt to enter the Screen-Reader Profile so they can browse and operate your site effectively. Here’s how our website covers some of the most important screen-reader requirements, alongside console screenshots of code examples:
Screen-reader optimization: we run a background process that learns the website’s components from top to bottom, to ensure ongoing compliance even when updating the website. In this process, we provide screen-readers with meaningful data using the ARIA set of attributes. For example, we provide accurate form labels; descriptions for actionable icons (social media icons, search icons, cart icons, etc.); validation guidance for form inputs; element roles such as buttons, menus, modal dialogues (popups), and others. Additionally, the background process scans all of the website’s images and provides an accurate and meaningful image-object-recognition-based description as an ALT (alternate text) tag for images that are not described. It will also extract texts that are embedded within the image, using an OCR (optical character recognition) technology. To turn on screen-reader adjustments at any time, users need only to press the Alt+1 keyboard combination. Screen-reader users also get automatic announcements to turn the Screen-reader mode on as soon as they enter the website.
These adjustments are compatible with all popular screen readers, including JAWS and NVDA.
Keyboard navigation optimization: The background process also adjusts the website’s HTML, and adds various behaviors using JavaScript code to make the website operable by the keyboard. This includes the ability to navigate the website using the Tab and Shift+Tab keys, operate dropdowns with the arrow keys, close them with Esc, trigger buttons and links using the Enter key, navigate between radio and checkbox elements using the arrow keys, and fill them in with the Spacebar or Enter key.Additionally, keyboard users will find quick-navigation and content-skip menus, available at any time by clicking Alt+1, or as the first elements of the site while navigating with the keyboard. The background process also handles triggered popups by moving the keyboard focus towards them as soon as they appear, and not allow the focus drift outside of it.
Users can also use shortcuts such as “M” (menus), “H” (headings), “F” (forms), “B” (buttons), and “G” (graphics) to jump to specific elements.
We aim to support the widest array of browsers and assistive technologies as possible, so our users can choose the best fitting tools for them, with as few limitations as possible. Therefore, we have worked very hard to be able to support all major systems that comprise over 95% of the user market share including Google Chrome, Mozilla Firefox, Apple Safari, Opera and Microsoft Edge, JAWS and NVDA (screen readers), both for Windows and for MAC users.
Despite our very best efforts to allow anybody to adjust the website to their needs, there may still be pages or sections that are not fully accessible, are in the process of becoming accessible, or are lacking an adequate technological solution to make them accessible. Still, we are continually improving our accessibility, adding, updating and improving its options and features, and developing and adopting new technologies. All this is meant to reach the optimal level of accessibility, following technological advancements. For any assistance, please reach out to saraban@cdti.ac.th